Thursday, June 3, 2010

การทำงานร่วมกันของเภสัชกร กับพยาบาลสามารถช่วยผู้ป่วยความดันสูงได้

การทำงานร่วมกันของเภสัชกร กับพยาบาลสามารถช่วยผู้ป่วยความดันสูงได้

เภสัชกร กับพยาบาล ช่วยกันดังนี้

1 Care from a pharmacist and nurse team included a wallet card with recorded BP measures,

เภสัชกร กับพยาบาล มีบันทึก การวัดความดันผู้ป่วย
2 cardiovascular risk reduction education and counseling,

มีการให้สุขสึกษา และ คำปรึกษา

3 a hypertension education pamphlet,

มีแผ่นพับ ให้ สุขศึกษา
4 referral to the patient's primary care physician for further assessment or management, a 1-page local opinion leader–endorsed evidence summary sent to the physician reinforcing the guideline recommendations for the treatment of hypertension and diabetes,

มีการส่งต่อแพทย์ พร้อม สรุปแนวทางการรักษาโรคเพื่อ กระต้นให้แพทย์รักษา ตาม CPG
แพทย์ที่แคนาดา ก็มั่วเหมือนกัน 55555


5 4follow-up visits throughout 6 months.


ติดตามคนไข้ 4 ครั้งใน 6เดือน

A Randomized Trial of the Effect of Community Pharmacist and Nurse Care on Improving Blood Pressure Management in Patients With Diabetes Mellitus

Study of Cardiovascular Risk Intervention by Pharmacists–Hypertension (SCRIP-HTN)

Donna L. McLean, MN, RN NP; Finlay A. McAlister, MD, MSc, FRCPC; Jeffery A. Johnson, BSP, PhD; Kathryn M. King, RN, PhD; Mark J. Makowsky, BSP, PharmD; Charlotte A. Jones, PhD, MD, FRCPC; Ross T. Tsuyuki, BSc(Pharm), PharmD, MSc, FCSHP, FACC; for the SCRIP-HTN Investigators

Arch Intern Med. 2008;168(21):2355-2361.

Background Blood pressure (BP) control in patients with diabetes mellitus is difficult to achieve and current patterns are suboptimal. Given increasing problems with access to primary care physicians, community pharmacists and nurses are well positioned to identify and observe these patients. This study aimed to determine the efficacy of a community-based multidisciplinary intervention on BP control in patients with diabetes mellitus.

Methods We performed a randomized controlled trial in 14 community pharmacies in Edmonton, Alberta, Canada, of patients with diabetes who had BPs higher than 130/80 mm Hg on 2 consecutive visits 2 weeks apart. Care from a pharmacist and nurse team included a wallet card with recorded BP measures, cardiovascular risk reduction education and counseling, a hypertension education pamphlet, referral to the patient's primary care physician for further assessment or management, a 1-page local opinion leader–endorsed evidence summary sent to the physician reinforcing the guideline recommendations for the treatment of hypertension and diabetes, and 4 follow-up visits throughout 6 months. Control-arm patients received a BP wallet card, a pamphlet on diabetes, general diabetes advice, and usual care by their physician. The primary outcome measure was the difference in change in systolic BP between the 2 groups at 6 months.

Results A total of 227 eligible patients were randomized to intervention and control arms between May 5, 2005, and September 1, 2006. The mean (SD) patient age was 64.9 (12.1) years, 59.9% were male, and the mean (SD) baseline systolic/diastolic BP was 141.2 (13.9)/77.3 (8.9) mm Hg at baseline. The intervention group had an adjusted mean (SE) greater reduction in systolic BP at 6 months of 5.6 (2.1) mm Hg compared with controls (P = .008). In the subgroup of patients with a systolic BP greater than 160 mm Hg at baseline, BP was reduced by an adjusted mean (SE) of 24.1 (1.9) mm Hg more in intervention patients than in controls (P < .001).

Conclusion Even in patients who have diabetes and hypertension that are relatively well controlled, a pharmacist and nurse team–based intervention resulted in a clinically important improvement in BP.

Trial Registration clinicaltrials.gov Identifier: NCT00374270


Author Affiliations: Department of Medicine, Faculty of Medicine (Ms McLean and Drs McAlister and Tsuyuki), School of Public Health (Drs McAlister, Johnson, and Tsuyuki), and Faculty of Pharmacy and Pharmaceutical Sciences (Drs Makowsky and Tsuyuki), University of Alberta, Edmonton; and Institute of Health Economics (Drs McAlister, Johnson, and Tsuyuki) and Departments of Community Health Sciences (Drs King and Jones) and Medicine (Dr Jones), Faculty of Medicine, and Faculty of Nursing (Dr King), University of Calgary, Calgary, Alberta, Canada.


เภสัชกร ช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ด้วย การ โทรศัพท์ติดตาม

เภสัชกร ช่วยชีวิตผู้ป่วยได้ด้วย การ โทรศัพท์ติดตาม

ผู้ป่วยหลายคน มี ปัญหา non compliance

โดยเฉพาะผู้ป่วยที่ได้ยามากกว่า 5 ชนิด

เมื่อเราค้นพบผู้ป่วยที่มี non compliance

เภสัชกร สามารถให้คำปรึกษา ผู้ป่วยและโทร ติดตามได้

ดั่งงานชิ้นนี้ เภสัชกร ช่วยให้คนไข้ ตายลดลงถึง ร้อยละ 41 ทีเดียว

BMJ 2006;333:522 (9 September), doi:10.1136/bmj.38905.447118.2F (published 17 August 2006)

Research

Effectiveness of telephone counselling by a pharmacist in reducing mortality in patients receiving polypharmacy: randomised controlled trial

Jennifer Y F Wu, pharmacist1, Wilson Y S Leung, pharmacist1, Sophie Chang, assistant professor3, Benjamin Lee, pharmacist2, Benny Zee, director4, Peter C Y Tong, associate professor1, Juliana C N Chan, professor of medicine and therapeutics1

1 Department of Medicine and Therapeutics, Chinese University of Hong Kong, Prince of Wales Hospital, Shatin, Hong Kong SAR, 2 Department of Pharmacy, Prince of Wales Hospital, 3 School of Pharmacy, Chinese University of Hong Kong, 4 Centre for Clinical Trials, Chinese University of Hong Kong

Correspondence to: J C N Chan jchan@cuhk.edu.hk

Abstract

Objective To investigate the effects of compliance and periodic telephone counselling by a pharmacist on mortality in patients receiving polypharmacy.

Design Two year randomised controlled trial.

Setting Hospital medical clinic.

Participants 502 of 1011 patients receiving five or more drugs for chronic disease found to be non-compliant at the screening visit were invited for randomisation to either the telephone counselling group (n = 219) or control group (n = 223) at enrolment 12-16 weeks later.

Main outcome measures Primary outcome was all cause mortality in randomised patients. Associations between compliance and mortality in the entire cohort of 1011 patients were also examined. Patients were defined as compliant with a drug if they took 80-120% of the prescribed daily dose. To calculate a compliance score for the whole treatment regimen, the number of drugs that the patient was fully compliant with was divided by the total number of prescribed drugs and expressed as a percentage. Only patients who complied with all recommended drugs were considered compliant (100% score).

Results 60 of the 502 eligible patients defaulted and only 442 patients were randomised. After two years, 31 (52%) of the defaulters had died, 38 (17%) of the control group had died, and 25 (11%) of the intervention group had died. After adjustment for confounders, telephone counselling was associated with a 41% reduction in the risk of death (relative risk 0.59, 95% confidence interval 0.35 to 0.97; P = 0.039). The number needed to treat to prevent one death at two years was 16. Other predictors included old age, living alone, rate of admission to hospital, compliance score, number of drugs for chronic disease, and non-treatment with lipid lowering drugs at screening visit. In the cohort of 1011 patients, the adjusted relative risk for death was 1.61 (1.05 to 2.48; P = 0.029) and 2.87 (1.80 to 2.57; P <> in patients with compliance scores of 34-66% and 0-33%, respectively, compared with those who had a compliance score of 67% or more.

Conclusion In patients receiving polypharmacy, poor compliance was associated with increased mortality. Periodic telephone counselling by a pharmacist improved compliance and reduced mortality.


Wednesday, June 2, 2010

ยาคู่นี้ ไม่ใช่สีเทา lopid+simvas

ยาคู่นี้ ไม่ใช่สีเทา lopid+simvas

จงอย่าประมาท

ปัจจุบันเราอาจพบว่า การใช้ยาร่วมกันระหว่าง

gemfibrozil+simvastatin แม้ มีข้อห้ามใช้ แต่แพทย์ก็ยังสั่งยาคู่กัน

เพราะ มีความเชื่อว่า ได้ประโยชน์ กับผู้ป่วย แต่ทว่า

จากงานวิจัย เรื่อง

Effects of Combination Lipid Therapy in Type 2 Diabetes Mellitus

This article (10.1056/NEJMoa1001282) was published on March 14, 2010, and updated on March 18, 2010, at NEJM.org.

Conclusions The combination of fenofibrate and simvastatin did not reduce the rate of fatal cardiovascular events, nonfatal myocardial infarction, or nonfatal stroke, as compared with simvastatin alone. These results do not support the routine use of combination therapy with fenofibrate and simvastatin to reduce cardiovascular risk in the majority of high-risk patients with type 2 diabetes.

พบว่า การใช้ ยา สองชนิด ร่วมกัน ไม่เกิดผลดีเหนือกว่า การใช้ simvastatin เพียงตัวเดียวครับ นอกจากนี้ ในอดีต คดีความที่แพทย์ใน usa แพ้คดี ต้องจ่ายเงินให้คนไข้มากมาย ก็แพ้คดี การใช้ยา statin+ยา lopid นี่แหละครับ

ชัดเจน หาก ใครจ่ายยาคู่นี้ ออกไป จงดูแลตนเองน่ะครับ ระวังถูกฟ้องร้องได้ หากเกิดอะไรขึ้นมากับคนไข้

หมวดหมู่: การบริหารจัดการ การจัดการความรู้
สัญญาอนุญาต: ซีซี: แสดงที่มา-ไม่ใช้เพื่อการค้า-อนุญาตแบบเดียวกัน Cc-by-nc-sa
สร้าง: อ. 04 พฤษภาคม 2553 @ 06:27 แก้ไข: อ. 04 พฤษภาคม 2553 @ 06:27

ความเห็น

1.
P
นาย สามารถ เศรษฐวิทยา
เมื่อ พ. 19 พฤษภาคม 2553 @ 17:24
#2005198 [ ลบ ]

สวัสดีครับพี่หมอ พี่หมอสบายดีน่ะครับ รวยแล้วไม่เคยเจอกันเลย สุดท้ายด้วยความเคารพครับ พี่หมอหล่อมากครับ

2.
P
ราชิต สุพร
เมื่อ ส. 22 พฤษภาคม 2553 @ 09:20
#2009170 [ ลบ ]

การดำเนินวิธีชีวิตด้วยความเรียบง่าย และสุขุ่มนุ่มลึก ก็เป็นแนวทางเลี่ยงจากความประมาทครับ

ชื่นชมครับ แวะมาเยี่ยมเยียน..

3.
P
บุษรา
เมื่อ อ. 01 มิ.ย. 2553 @ 19:09
#2025415 [ ลบ ]
  • สวัสดีค่ะ
  • แวะมาเยี่ยมเยียนกันค่ะ สบายดีนะค่ะ พร้อมกับมาเชิญชวนไปชม "สุดยอดส้วม...โรงพยาบาลพะโต๊ะ"
  • ขอบคุณค่ะ
  • Tuesday, June 1, 2010

    วิตามินเพิ่มความอยากอาหารในเด็ก

    วิตามินเพิ่มความอยากอาหารในเด็ก

    พ่อ แม่หลายคนมักจะกังวลกับการที่ลูกไม่ยอมรับประทานอาหาร รับประทานอาหารน้อย หรือรับประทานอาหารไม่ถูกสัดส่วน ไม่ยอมรับประทานผักผลไม้ที่มีประโยชน์ ส่งผลให้มีภาวะทางโภชนาการที่บกพร่อง ซึ่งอาจส่งผลต่อการพัฒนาการและการเจริญเติบโตของเด็กได้

    สำหรับ วิตามินที่จะช่วยให้เด็กรับประทานอาหารรับประทานอาหารได้มากขึ้น โดยเฉพาะในเด็กที่มีน้ำหนักตัวต่ำกว่าเกณฑ์เนื่องจากไม่ค่อยรับประทานอาหาร และนม จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลในตำราทางโภชนศาสตร์พบว่ามีการระบุว่ามีวิตามินบาง ชนิดสามารถช่วยในการเจริญอาหารได้นั้น ได้แก่ วิตามินบี 1 มีฤทธิ์ทำให้ช่วยเจริญอาหาร และวิตามินบี 12 มีฤทธิ์กระตุ้นการเจริญเติบโตในเด็ก โดยในเด็กที่ด้อยพัฒนาการ และเด็กขาดสารอาหาร มักมีการขาดวิตามิน บี12 และวิตามินอย่างอื่นร่วมด้วย เมื่อให้วิตามิน บี12 จะเพิ่มความอยากอาหาร กินอาหารได้มากขึ้น แต่ในเด็กที่เจริญเติบโตเป็นปกติ ไม่ขาดวิตามินนี้ การให้วิตามิน บี12 จึงไม่มีผล

    การที่จะให้วิตามินเสริมเพื่อช่วยให้เด็กเจริญอาหาร รับประทานอาหารได้มากขึ้น อาจให้ในรูปที่เป็นวิตามิน บีรวม (Vitamin B complex) หรือวิตามินรวม (Multivitamins) ซึ่งจะช่วยเสริมวิตามินอื่นๆ ที่เด็กไม่ค่อยรับประทานอาหารและนมซึ่งอาจมีภาวะของการขาดวิตามินได้

    เด็ก ที่ควรได้รับวิตามินเสริม ได้แก่ เด็กที่มักรับประทานอาหารตามใจชอบ ซึ่งมักจะได้รับสารอาหารที่ไม่เหมาะสม อีกทั้งยังไม่ยอมรับประทานผัก ผลไม้ หรือเนื้อสัตว์บางชนิด จึงเป็นสาเหตุให้เด็กได้รับสารอาหารไม่ครบถ้วน รวมไปถึงเด็กกำลังพักฟื้นหรือผู้ที่มีโรคประจำตัว ทั้งนี้เพราะร่างกายต้องการสารอาหารวิตามินเพิ่มมากขึ้นเป็นพิเศษในการซ่อม แซมเนื้อเยื่อ หรือเสริมสร้างภูมิต้านทาน หรือหากเด็กมีโรคประจำตัวบางโรคอาจทำให้มีความต้องการวิตามินบางชนิดมากกว่า ปกติ หรืออาจจะรับประทานยาบางประเภทที่ทำลายหรือรบกวนการดูดซึมวิตามินและเกลือ แร่ในร่างกายจึงอาจต้องพิจารณาให้วิตามินเสริมแก่เด็กเหล่านี้

    อย่าง ไรก็ตามการให้วิตามินเสริมนั้นเป็นเพียงการเติมเต็มอาหารที่เด็กควรรับ ประทานตามปกติเท่านั้น วิตามินเสริมไม่สามารถทดแทนสารอาหารหลากหลายชนิดที่เด็กจะได้รับจากแหล่ง อาหารตามธรรมชาติ ดังนั้นขณะที่เด็กรับประทานวิตามินเสริม ควรพยายามให้เด็กรับประทานอาหารหลัก ผักและผลไม้ที่มีประโยชน์ควบคู่ไปด้วยเสมอ เพื่อให้ได้รับกากใยอาหารและสารประกอบวิตามินต่างๆ ที่วิตามินเสริมไม่มี แต่ทั้งนี้การให้วิตามินเสริมควรคำนึงถึงปริมาณที่ได้รับด้วย โดยทั้งนี้ไม่ควรเกิน 100% ของปริมาณอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวันสำหรับแต่ละช่วงอายุด้วย เนื่องจากจะได้รับจากการรับประทานอาหารปกติอีกด้วย และการได้รับวิตามินบางชนิดที่มากเกินไปก็อาจก่อให้เกิดอันตรายได้เช่นกัน

    ตารางแสดงปริมาณสารอาหารอ้างอิงที่ควรได้รับประจำวัน (DRIs): ปริมาณวิตามินที่แนะนำสำหรับเด็กในช่วงวัยต่างๆ

    เอกสารอ้างอิง

    นุช ภิรมย์ และเอื้อมพร สกุลแก้ว. Vitamin for kid วิตามินสำหรับเด็ก. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ใกล้หมอ. 2548

    Peckenpaugh NJ, and Poleman CM. Chapter 5: Food as the Source of Vitamins, Minerals,
    Phytochemicals, and Water. In Nutrition Essentials and Diet Therpy. 8th ed. Philadelphia: W.B. Saunders Company. 1999.

    โพยม วงศ์ภูวรักษ์. บทที่2 ความต้องการพลังงานและความต้องการสารอาหาร. ใน การให้อาหารทางหลอดเลือดและการให้อาหารทางสายยาง. สงขลา: ภาควิชาเภสัชกรรมคลินิก คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. 2549

    เอกสาร ประกอบการฝึกปฏิบัติวิชาชีพด้านการบริบาลทางเภสัชกรรม หลักสูตรการบริบาลเภสัชกรรม (รุ่นที่ 1) คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์. สงขลา. 2550

    : กาย
    : บทความ
    : สุขภาพดี
    panupong 27 ต.ค. 2552 28 ต.ค. 2552
    ความคิดเห็น (1)

    ตอนเด็กๆ เป็นคนที่กินยากและเลือกกินมาก
    ทำให้คุณแม่ต้องปวดหัวอยู่บ่อยๆ
    ถึงขนาดต้องจ้างให้กินข้าว กินไข่ กินนมเลยค่ะ

    กุ้งนาง (117.47.182.42) 28 ตุลาคม 2552 - 19:26 (#378)