Friday, February 27, 2009

ธรรมชาติบำบัดช่วยได้

แพทย์ทางเลือก หรือ ธรรมชาติบำบัด
สามารถช่วยผู้ป่วยได้จริง หากผู้ใช้มีความรู้ เข้าใจชัดเจนครับ

การทำสมาธิ
ช่วยลดความดันโลหิต
ลดอาการเจ็บแน่นหน้าอก
คลายเครียด
และลดระัดับน้ำตาลในเลือด

ธรรมชาติบำบัดได้แก่
1 อาหารบำบัดโรค
2 สวดมนต์
3 อาบแดดยามเช้า
4 นวดเท้าด้วยสนามหญ้า
5 นวดตัว

Saturday, February 21, 2009

แนวคิดใหม่ในการบริบาลผู้ป่วย

ปัจจุบัน โรคเรื้อรัง ถือเป็นปัญหาหลัก ของคนไทย

การรักษาแบบเดิม รอให้คนไข้่มา ตรวจ หรือมาตามนัด

ตามแนวทางทำงานแบบตั้งรับ

ให้ยาไป คนไข้กลับบ้าน วันนัดมาค่อยมาใหม่

ช่วงอยู่บ้าน ก็ดูแลตัวเองให้ดีน่ะ(สุดแท้แต่วาสนา)

หมอไม่เกี่ยว
คนไข้มาหา แบบไม่ได้ตั้งตัวครับผม

หากเป็นคนไข้ทั่วไปก็พอรับได้น่ะครับ

แต่ถ้าเป็นคนไข้ไตวาย หรือโรคหัวใจวาย เราจะทำแบบนี้อยู่อีกหรือ?

นอกจากนี้
การตรวจรักษา ยังแล้วแต่หมอ ไม่มีการว่า ตรวจรักษา ตาม มาตราฐานวิชาชีพ
ไม่มีการตรวจสอบควบคุม พอมีเรื่องฟ้องร้องขึ้นมา จึงค่อยไปดูแล...

ยกตัวอย่างคนไข้่ โรคหัีวใจขาดเลือด ร้อยละ 70 ได้รับการรักษาที่ไม่ถูกต้อง
ผลเสียก็เิกิดขึ้นแบบช้าๆ แต่แน่นอน อีกไม่กี่ปี คนไข้โรคหัวใจก็ตาย เพราะหมอสั่งยาที่จำเป็นให้คนไข้ไม่ครบ

เรื่องแบบนี้ ไม่มีการฟ้องร้อง เพราะคนไข้ไม่ตายในทันที ถึงแม้จะเกิดจากแพทย์ก็ตาม

แต่เรื่้องที่ฟ้องร้อง คือ มีคนไข้ตายกระทันหัน ก็ฟ้องแพทย์ อย่างนี้แพ้แน่ เพราะไม่รู้ว่า แพทย์ทำอะไรผิดไหม

Saturday, February 7, 2009

ปัญหาด้านยาที่ใครๆมองข้าม

1 แพทย์ สั่งยา จำเป็น ต่อชีวิตผู้ป่วยไม่ครบ เพราะขาดความรู้
2 คนไข้ไม่ยอมใช้ยาตามสั่ง
3 เิกิดผลข้างเคียง จากการใช้ยา

ยกตัวอย่าง คนไข้ ชายคู่ อายุ 50 ปี เป็นโรคเบาหวาน และหัวใจขาดเลือด
แพทย์สั่งยา
aspirin 60 mg OD
isodril 10 mg TID
glibenclamide 5 mg BID

อย่างนี้ ถือว่าผิดหลักวิชาการ ยังได้ยาไม่ครบ

เนื่องจากคนไข้ ควรได้ยา
กลุ่ม ACEI และ Betablocker เพิ่ม และอาจจำเป็นได้ยาลดไขมันกลุ่ม statins อีกด้วย

การได้ยาเพิ่มขึ้นมา นั้นทำให้ผู้ป่วยมีโอกาสรอดชีวิตมากขึ้น

Friday, February 6, 2009

เรียนรู้จากความตาย เบาหวานไตวาย

ผมไ้ด้ดูแลคนไข้ 2 ราย
คือคุณตาสมบูรณ์ กับอ้ายนาวิน
ผู้ป่วยเบาหวาน 2 รายนี้ ตายจากภาวะไตวาย
เนื่องจากมีระดับ น้ำตาลในเลือดสูง บ่อยๆ ผมคิดหัวแทบแตก ก็คิดไม่ออกว่า
ทำอย่างไร จะช่วยพวกเขาได้ ปี 42-48 ดูแลเยี่ยมบ้าน แต่คนไข้ก็ไม่รอด ปี 49-50 เริ่มคิดได้ แล้ว
...โปรดติดตามต่อไปครับ

หากสามารถคุมระดับน้ำตาลในเลือดไ้ด้ ความดันได้ คนไข้น่าจะรอด
ความจริง คนไข้พบแพทย์ ทุก 60 วัน -120 วัน
บางครั้ง น้ำตาลก็สูง ถึง 400 บางครั้งก็ต่ำแค่ 40 mg/dL
คนไข้ไม่ได้เจาะเลือดบ่อยๆ เลย

หากคนไข้่กินอาหารมากไป หรือไม่ยอมใช้ยา น้ำตาลในเลือดสูงแน่ ไตพังแน่

ปล. เจ้าหน้าที่ รพ. บางคนเข้าใจว่า ยาเบาหวานทำให้ไตวาย สาธุ

Thursday, February 5, 2009

ปัญหาที่ระบบราชการไม่แก้ไข IHD+HF

โรคหัวใจขาดเลือด และหัวใจล้มเหลว

จำเป็น ต้องได้ยา Beta blocker และ ACEI และื่อื่นๆ อีกไม่น้อย

การได้ยาเหล่านี้ ช่วยลดอัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยไ้ด้

แต่แพทย์ไม่ยอมสั่งยาให้คนไข้ ทำให้ คนไข้เสียโอกาสในการรักษา
เภสัชกร หลายคนไม่กล้าแนะนำแพทย์ แต่ผมก็กล้า....
แม้หลายครั้งแพทย์จะไม่ตอบรับก็ตามที

สรุป
โรคหัวใจขาดเลือด
ิิBeta blocker +ACEI +Aspirin or add statins

โรคหัวใจวาย
Beta blocker +ACEI or add spironolactone or diuretics


หลงทางอยู่หลายปี เพราะคิดจะทำ SOAP

กระแส pharm care อเมริกา มาแรง เภสัชกรบ้านนอก
จะไปแนะนำ ให้แพทย์ รักษาอย่างโน้น อย่างนี้
ผลลัพธ์
1 แพทย์บางคนหมั่นไส้
2 หลายคนแตะถ่วง
3 เภสัชกรด้วยกันเอง ยังอึ้ง

แต่พอย้อน ถาม ว่า คำแนะนำ นั้น ผิดหลักวิชาการหรือไม่ เงียบ

แต่อย่างไรก็ตาม ใน โรงพยาบาลเล็กๆ หมอเก่าๆ สามารถดันให้ใช้ Enalapril ชลอไตเสื่อม
และ รักษาผู้ป่วยหัวใจวาย(HF)ได้ ตั้งแต่ปี 43

ตอนหลังมารู้ คำแนะนำของเภสัชกร ในการปรับเปลี่ยนการรักษาของแพทย์ แนะนำไปก็ไม่ไ้ด้ผล
มี คนวิจัยมาแล้ว

Tuesday, February 3, 2009

ปี 42 กลับขอนแก่น อำเภออุบลรัตน์

ปัญหาเดิม มาหลอกหลอน โรคหืด

ผมกับพี่วิวัฒน์ ช่วยวางระบบใหม่
ทำให้ อัตราการ admit ลดลงร้อยละ 80
คนไข้พอใจมาก แต่ไม่ได้ 2 ขั้น 555.

เรื่องนี้สอนให้รู้ว่า ผลงานอาจไม่เกี่ยวกับ ความดีความชอบ 55555

Sunday, February 1, 2009

ปี 40 เปิด counseling เบาหวาน

เชิญ ผู้ป่วยเบาหวาน
มาห้องทำงาน
คุยกันเรื่องน้ำตาลในเลือดสูง
เว้า่กันแบบลูกทุ่ง มันส์มากครับ
มีกอดคนไข้ มีร้องไห้ด้วย

ลูกน้องห้องยาก็เอาด้วยทุกคน
รพ.สำโรง จ.ุอุบลราชธานี

ปี 39 หาญกล้าเยี่ยมผู้ป่วย

ออกเยี่ยมผู้ป่วย ถึงบ้าน ขับรถไปเอง
ตอนบ่าย พาลูกน้องไปด้วย 555
ไม่ได้ตัีงค์ สนุกปนเศร้า
ไ้ด้พบความทุกข์ยากของผู้ป่วย
ไปเห็นคนไข้ไตวายนอนรอความตาย
แต่ไม่เจอ บ้านลูกสาวสวย ..555

ปี 39 หาญกล้าเยี่ยมผู้ป่วย

ออกเยี่ยมผู้ป่วย ถึงบ้าน ขับรถไปเอง
ตอนบ่าย พาลูกน้องไปด้วย 555
ไม่ได้ตัีงค์ สนุปนเศร้า
ไ้พบความทุกข์ ความยากของผู้ป่วย

ฟังบรรยายครั้งแรก pharmaceutical care

ปี 2539 อาจารย์ จากอเมริกา พี่ซิงค์ มาบรรยาย เรื่อง ปัญหาจากยา
และการบริบาลทางเภสัชกรรม
ถือว่า เป็น การต่อยอดความคิดใหม่ที่ยิ่งใหญ่
ต่อมา ปี 40 อ.ปรีชา มาพูดเรื่อง pharmaceutical care ในอเมริกา
ภาพเลยชัดขึ้นมาก ตอนนั้น เลยตัดสินใจ จะเป็นเภสัชกรต่อไป

โรคหืด คืองานแรก

ใน ปี 2539 ผมพบว่า
คนไข้โรคหืด เกือบทุกราย
อาการแย่ หอบมาก
หลายคน ต้องเข้าห้อง ER
น่าสงสารมาก
ในโรงพยาบาลสำโรง จ.อุบล
สมัยนั้น ไม่มี steroids พ่น คนไข้แต่ละคนอาการก็แย่
ผมเภสัชเอกก็เลยอยู่เฉยไม่ได้ ต้องไปคุยกับแพทย์(ผอ.)

ใช้ใจนำทาง

ผมเอง เป็น เภสัชกร บ้านนอกคนหนึ่ง ทำงานตั้งแต่ปี 2538 โน่น

ในที่สุด ก็หลงใหล และพัฒนาตนเอง จนสามารถ ดูแลผู้ป่วยได้ดี ระดับหนึ่ง
จุดเริ่มต้น อยู่ที่ใจ เท่านั้น จิตใจที่รักผู้ป่วย ด้วยความหวังดี

ข้าพเจ้า ... ศุภรักษ์